แนวคิดและหลักการสำคัญของพระพุทธศาสนามหายาน
คำสำคัญ:
พระโพธิสัตว์, พระพุทธเจ้า, พระวินัยบทคัดย่อ
พระพุทธศาสนามหายานเป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายอาจริยวาทที่นับถือกันอยู่ประเทศแถบตอนเหนือของอินเดีย เนปาล จีน ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม มองโกเลีย ไปจนถึงบางส่วนของรัสเซีย ส่วนจุดเด่นของพระพุทธศาสนานิกายนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับแนวคิดการบำเพ็ญตนเป็นพระโพธิสัตว์ เพื่อสร้างบารมีในการช่วยเหลือสรรพชีวิตในโลกไปสู่ความพ้นทุกข์ สำหรับการปฏิบัติตามพระวินัยนั้น ผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนามหายานใช้เป็นแนวทางให้เอื้อต่อการปฏิบัติธรรมเพื่อช่วยเหลือผู้อื่นและดำรงตนให้ดี
References
ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์ ษัฏเสน. (2543). สัทธัมปุณฑริกสูตร. กรุงเทพฯ : ศูนย์ไทยธิเบต.
ประทุม อังกูรโรหิต. (2553). พระมหาประณิธานของพระโพธิสัตว์ : ข้อโต้แย้งทางปรัชญา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประพจน์ อัศววิรุฬหการ. (2557). โพธิสัตวจรรยา: มรรคาเพื่อมหาชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุมาลี มหณรงค์ชัย. (2543). พุทธศาสนามหายาน (ฉบับปรับปรุงแก้ไข). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.
สุวิญ รักสัตย์. (2545). พุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด.
เสถียร พันธรังษี. (2512). พุทธศาสนามหายาน. ธนบุรี: โรงพิมพ์ประยูรวงศ์.
เสถียร พันธรังษี. (2543). พุทธศาสนามหายาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.
เสถียร โพธินันทะ. (2516). ปรัชญามหายาน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บรรณาคาร.
เสถียร โพธินันทะ. (2522). ปรัชญามหายาน. กรุงเทพฯ : เวิ้งนครเขษม.
สมภาร พรมทา. (2561). คำบรรยายเรื่อง ?ความแตกต่างทางปรัชญาระหว่างเถรวาทและมหายาน. บรรยายแก่นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2561. https://www.youtube.com/watch?v=FC-XUXwNTFM. [3 December 2018].
อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสต์. (2520). พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์.