ประเพณีการบวชกับคำขอบวชในพระพุทธศาสนา

ผู้แต่ง

  • พระบวร สุนฺทโร วัดแจงร้อน สมุทรปราการ
  • พระไสว วชิรญาโณ วัดแจงร้อน สมุทรปราการ
  • ภาณุพงศ์ ไทรใหญ่ นักวิชาการอิสระ ด้านวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา
  • สุขวสา ชิตะปัญญา นักวิชาการอิสระ ด้านวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา
  • ธาราทิพย์ ต้นชมภู นักวิชาการอิสระ ด้านวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา

คำสำคัญ:

ประเพณีการบวช, คำขอบวช, พระพุทธศาสนา

บทคัดย่อ

บทความเรื่อง ประเพณีการบวชกับคำขอบวชในพระพุทธศาสนา นี้ สรุปได้ว่า การบวชในปัจจุบันและในอดีตนั้นมีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างเหมาะสม คือ เป็นความเปลี่ยนแปลงบนพื้นฐานที่ยังคงหลักการเดิมไว้ ซึ่งนับว่าเป็นไปตามพระธรรมวินัยอย่างดียิ่ง ส่วนความเปลี่ยนแปลงของประเพณีการบวชในพระพุทธศาสนาที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ปัจจุบันนั้นเป็นความเปลี่ยนแปลงบนพื้นฐานของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม กล่าวคือสังคมมีความสลับซับซ้อนมากขึ้นและวัสดุอุปกรณ์ในการบวชก็มีความแตกต่างด้วยวิธีการได้มาด้วย ดังนั้น พุทธบริษัท 4 จึงควรให้ความสำคัญและมองเห็นคุณค่าของการบวชแบบเรียบง่ายเหมือนในครั้งสมัยพุทธกาลก็จะทำให้เกิดความน่าเลื่อมใสของคนในสังคม และเป็นการบวชที่เป็นไปตามกระแสธรรมกระแสโลก

References

คูณ โทขันธ์. (2545). พุทธศาสนากับสังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

พุทธทาสภิกขุ และปัญญาทันทภิกขุ. (ม.ป.ป.). พรหมจรรย์ของการบวช. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.

พระเทพวิสุทธิกวี, (พิจิตร ฐิตวณฺโณ). (2543). อานิสงส์การออกบวช. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.

พระธรรมกิติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2551). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สถาบันบันลือธรรม.

สิริวัฒน์ คำวันสา. (2534). ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: พิมพ์ลักษณ์.

พระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรไทย ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ พ.ศ. 2500.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-20

Most read articles by the same author(s)