สมรรถนะ สมรรถนะของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2
คำสำคัญ:
สมรรถนะ, ผู้บริหารสถานศึกษา, การบริหารงานวิชาการบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 (2) ศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 และ (3) ศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2?????????
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบสำรวจ ?ประชากรในการวิจัย ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 ?จำนวน 940 คน? กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 ?กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน ?และวิธีการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 273 คน วิธีดำเนินการวิจัยมี 4 ขั้น ได้แก่ (1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ?(2) สร้างเครื่องมือในการวิจัย (3) เก็บรวบรวมข้อมูล และ (4) วิเคราะห์ข้อมูล ?เครื่องมือที่ใช้ในเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ? สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า (1) สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน ?(2) การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ (3) สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต? 2? มีความสัมพันธ์กันปานกลางในทางบวก? อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
References
กมล ภู่ประเสริฐ. (2560). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา : ชุดการพัฒนาสู่มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: เมธีทิปส์
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพร้าว,
จิตทิวัตถ์ สีพา. (2564). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานด้านวิชาการ ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.
เจณศจี ไพบูลย์สวัสดิ์. (2556). การศึกษาขีดความสามารถของหัวหน้าแผนกสังกัดค่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
เจริญ ขวัญสําราญ. (2556). สมรรถภาพของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดชัยภูมิ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2548). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2558). การฝึกอบรม: เอกสารการฝึกอบรม, ปว. 671. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ดุจดาว ดวงเด่น. (2556). การพัฒนาอาชีพโดยเน้นขีดความสามารถ: กรณีศึกษาพนักงานเงินฝากบัญชี ธ.ไทยทนุ (มหาชน). วิทยานิพนธ์พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
เตือนใจ อังกูรเกียรติ. (2545). องค์ประกอบการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานวิชาการในโรงเรียน สังกัดเทศบาล เขตการศึกษา 5. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธารินี กิตติกาญจนโสภณ, วีระ วงศ์สรรค์ และเบญจภรณ์ รัญระนา (2563). การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพ การศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 2. วารสารพุทธมัคค์ ศูนย์วิจัยธรรมศึกษาวัดอาวุธวิกสิตาราม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (121-129), กค.-ธค. 2563.
ธารินี กิตติกาญจนโสภณ, วีระ วงศ์สรรค์ (2563). ภาวะผู้นำของผู้บริหารต่อความท้อแท้ในการปฏิบัติงานของครูปฐมวัย สังกัดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบลอินทขิล อำเภอแม่แตง เชียงใหม่. วารสารพุทธสังคมวิทยาปริทัศน์ ม.มหามกุฏราชวิทยาลัยนครศรีธรรมราช ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (120-130), มค.-มิย. 2564.
นันทพร ศุภะพันธุ์. (2561). สมรรถนะการบริหารด้านวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับประถมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุศยมาศ มารยาตร์. (2557). การประเมินขีดความสามารถในการปฏิบัติงานของนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กรณีศึกษาการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ปริญญ์ พิชญวิจิตร์. (2557). การออกแบบรายการขีดความสามารถในงานของบางจากปิโตเลียมจํากัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร.
เพียรพันธุ์ กิจพาณิชย์เจริญ. (2552). สมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วงศกร ภู่ทอง และอลงกต ศรีเสน. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12. กรุงเทพมหานคร: เดอะบุ๊คส์
สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2558). การปรับใช้สมรรถนะในการบริหารทรัพยากรมนุษย์. สืบค้นเมื่อ ธันวาคม 14, 2564 จาก http://ocsc.go.th/veform/PDF/competency.pdf.
สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2552). คู่มือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา, เลื่อนวิทยฐานะ. กรุงเทพมหานคร.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2, 3). กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2. (2565). แผนกลยุทธ์ และพันธสัญญาปีงบประมาณ 2565 - 2567: สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล. กรุงเทพมหานคร: พริกหวาน กราฟฟิค.
ศิริ เจริญวัย. (2555). สมรรถภาพทางการบริหารของผู้บริหารวิทยาลัยครู. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
อลงกรณ์ มีสุทธา และสมิต สัชฌกร. (2554). การประเมินผลการปฏิบัติงาน. กรุงเทพมหานคร :สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย - ญี่ปุ่น)
อัจฉรา สระวาสี (2559). การพัฒนารูปแบบสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Blancero, D. Boroski, L. & Dyer, L. (1996). Key Competencies, Transformed Human Resource Organization: Field Study. Human Resource Management. 35 (1): 3-13
Boyatzis, R.E. (1982). The Competentcies Manager. NewYork: Wiley & Son.
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of Psychological Testing. NewYork Harper Collins. Daft. L.R. (2008). Management. 10th Ed. Thomson South-West. Tennesee.
Drucker. F. P. (1999). Management Challenges for the Century. NewYorkHarperCollins.
Ivancevich, J.M. (1998). Competence at Work: The Managerial Perspective Performance. NewYork: John Matteson.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activity and Psychological Measurement. 30(3): .607-610.
McClelland, D.C. (1973). Testing for Competence rather than Intelligence. American Psychologist. 28 (1): 1-14
OHagan, K. (1996). Competence in Social Work Practice: A Practical Guide for Profressional. London: Prentice Hall.
Parry, Scott B. (1998). ?The Quest for Competencies.? Journal of Training: 48-56.
Spencer Mark. (1993). Competence at Work: The Model for Superiors Performance. New York: John Wiley & Sons.
Yamane, T. (1973). Statistic: Introductory Analysis. 3rd ed. NewYork: Harper & Row.