ผลของกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เกมเป็นฐานที่มีต่อการป้องกันตนเองจากการถูกคุกคามทางเพศในโรงเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
คำสำคัญ:
การป้องกันตนเองจากการถูกคุกคามทางเพศ, กิจกรรมแนะแนว, เกมเป็นฐาน, นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการป้องกันตนเองจากการถูกคุกคามทางเพศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา?? ตอนปลาย และ 2) เพื่อเปรียบเทียบการป้องกันตนเองจากการถูกคุกคามทางเพศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เกมเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างวิจัยในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนมัธยมวัดนายโรง ปีการศึกษา 2566 ที่ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบลำดับชั้น (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) กิจกรรมแนะแนวโดยใช้เกมเป็นฐาน 2) แบบวัดการป้องกันตนเองจากการถูกคุกคามทางเพศ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติบรรยายโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอ้างอิงที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ t-test for dependent samples ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยการป้องกันตนเองจากการถูกคุกคามทางเพศทั้งในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และภายหลังการใช้กิจกรรมแนะแนว พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยการป้องกันตนเองจากการถูกคุกคามทางเพศสูงกว่าก่อนการใช้กิจกรรมแนะแนวโดยใช้เกมเป็นฐานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยค่าเฉลี่ยการป้องกันตนเองจากการถูกคุกคามทางเพศหลังการใช้กิจกรรมแนะแนวโดยใช้เกมเป็นฐานอยู่ในระดับสูง
References
กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
กษมา ประเสริฐสังข์. (2558). มาตรการทางกฎหมายในการลงโทษผู้เดินทางท่องเที่ยวเพื่อมีเพศสัมพันธ์กับเด็ก. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กันทวัลย์ ภูวพันธ์. (2543). ผลของการใช้โปรแกรมชุดแนะแนวในการพัฒนาเจตคติต่อการคุกคามทางเพศและความภาคภูมิใจในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดชัยมงคล สังกัดกรุงเทพมหานคร. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
กุลญาณินทร์ ศรีดาชาติ. (2554). การเลือกเปิดรับข่าวสารเรื่องเพศศึกษาผ่านสื่อมวลชน สื่อบุคคลของนักเรียนมัธยมต้น ในกรุงเทพมหานคร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
ขวัญชนก งามชื่น. (2549). เวทีชีวิตแดนเซอร์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จุฑานันท์ ก้อนแก้ว. (2550). การจัดการเรียนรู้ทักษะชีวิตในการป้องกันการคุกคามทางเพศ สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนบ้านร่องน้ำ อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย. (2551). การสำรวจข้อมูลสถิติอาชญากรรมในประเทศไทย: ข้อเสนอเพื่อพัฒนากระบวนการยุติธรรมยุคใหม่. วารสารกระบวนการยุติธรรม, 1(2), 11-36.
ชญานุตม์ นิรมร. (2554). ความรู้เกี่ยวกับการล่วงละเมิดทางเพศ ทัศนคติต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น โรงเรียนเซนต์โยเซฟทิพวัล จังหวัดสมุทรปราการ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ชนกนันท์ ไขแสง. (2556). สาเหตุการล่วงละเมิดทางเพศเด็กและเยาวชนในกรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชลธิชา อึงคนึงเดชา. (2556). การตีความพฤติกรรมการล่วงละเมิดทางเพศในหมู่ผู้ปฏิบัติงานภายในองค์กรไทย. วิทยานิพนธ์ นศ.ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดวงพร เพชรคง. การล่วงละเมิดทางเพศ. บทความใช้เพื่อการนำออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงรัฐสภา รายการเจตนารมณ์กฎหมาย.
ไทยโพสต์. (2561). ล่วงละเมิดทางเพศสถานศึกษาเป็นข่าวแค่ 5%. กรุงเทพฯ: หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์จำกัด.
นวพรรณ อัศวสันตกุล. (2558). แนวทางการกแบบสื่อเคลื่อนที่สำหรับเด็กหญิงก่อนวัยรุ่นเพื่อการป้องกันตนเองจากความเสี่ยงในการถูกล่วงละเมิดทางเพศ. (ปริญญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นิตยา บุญหนัก. (2547). การศึกษาและป้องกันการคุกคามทางเพศ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.
พรวิภา วิภานราภัย. (2554). การคุกคามทางเพศต่อสตรีในที่ทำงาน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
เพ็ญพรรณ กี้เจริญ. (2563). การคุกคามทางเพศในสังคมไทย. วารสารสหวิทยาการ, 10(1), 33-53.
รัชฎาภรณ์ ศรีรักษา. (2557). วาทกรรมการคุกคามทางเพศในชีวิตประจำวัน. 36(2).
วิไล คูณคำ. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมทางเพศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จังหวัด อุบลราชธานี. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อุบลราชธานี.
ศิรินทร์ณา ทัศนียรัตน์. (2554). ผลของโปรแกรมป้องกันการถูกล่วงละเมิดทางเพศต่อความตั้งใจในการกระทำพฤติกรรมป้องกันตนเองของนักเรียนหญิงชั้นประถมศึกษา. (ปริญญามหาบัณฑิต), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมพร จรัสเจริญวิทยา. (2550). พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศของเด็กนักเรียนหญิงวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมสรรค์ อธิเวสส์. (2557). การคุกคามทางเพศบนสังคมเครือข่าย. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 7(3).
สมาคมแนะแนวแห่งประเทศไทย. (2557). ระบบการแนะแนวในโรงเรียน/โครงการพัฒนาเครือข่ายในระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน. กรุงเทพฯ: สมาคมแนะแนวแห่งประเทศไทย.
สิรินทร์ ศรประสิทธิ์. (2545). ทักษะทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันการล่วงเกินทางเพศของนักเรียนหญิง ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จังหวัดสมุทรสาคร. (ปริญญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุธิดา กลัดทอง. (2549). โปรแกรมสร้างเสริมทักษะการป้องกันการถูกล่วงละเมิดทางเพศของเด็กวัยเรียนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์. (ปริญญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยมหิดล,
สุวิมล เกิดอินทร์. (2562). ผลของโปรแกรมทักษะชีวิตต่อความรู้และทักษะการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศในนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 33(1), 128-145.
อนุกูล มโนชัย. (2554). การคุกคามทางเพศต่อวัยรุ่นหญิงผ่านพื้นที่เสมือนจริง. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อัมพร ธำรงลักษณ์. (2552). การคุกคามทางเพศในโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร : สาเหตุและข้อเสนอทางนโยบาย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1(1), 31-47.
Ajzen, I., & Fishbein, M. (1980). Understanding attitudes and predicting social behavior. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Anita, R, & Dorothy, L. (2003). Childhood Sexual Abuse, Disorder Eating, Alexithymia, and General Distress: A Mediation Model. University of Illinois at Urbana-Champaign,
Balick, D. (2010). Harassment Free Hallways: How to Stop Sexual Harassment in School. American Association of University Women Educational Foundation, Washington D.C.
Bandura, A. (1986). Social foundation of thought and action. New Jersey: Prentice Hall.
Bandura, A. (1997). Social learning theory. New Jersey: Prentice Hall.
Boland, M. L. (2002). Sexual Harassment: Your Guide to Legal Action. Naperville. Illinois: Sphinx Publishing.
Chumwuttisak, K. and Silanoi, L. (2015). ?The Developing Grade 5 Students? Analytical Thinking Skill and Attitude Towards Democratic Citizenship in The Learning Unit on ?Good Citizen in A Democracy? Social Studies S15101 Course, Using Game-Based-Learning?. Journal of Education Khon Kaen University 38(4): 177 ? 185. (in Thai)
Hunicke, R. 2004. Babysitter Elective. Lecture at Game Developers Conference Game Tuning Workshop, 2004. In LeBlanc et al., 2004a
Jones, C., Scholes, L., Rolfe, B., & Stieler-Hunt, C. (2020). A serious-game for child sexual abuse prevention: An evaluation of orbit. Child Abuse & Neglect.
Joni Hersch. (2015). Sexual harassment in the workplace. IZA World of Labor.
Llanto, G. A., & Valdez, J. A. . (2023). Context of Sexual Harassment among Junior and Senior High School Students. International Review of Social Sciences Research, 3(1), 125-141.
Muro, J. J., & Kottman, T. (1995). Guidance and Counseling in the Elementary and Middle Schools : A Practice Approach. Iowa: Brown&Benchmark publishers.
Silverman, S. (2013). Instant Raspberry Pi Gaming : Your Guide to Gaming on theRaspberry Pi, From Classic Arcade Games to Modern 3D Adventures. Birmingham Packt Publishing.
Springer, C., & Misurell, J. R. (2010). Game-based cognitive-behavioral therapy (GB-CBT): An innovative group treatment program for children who have been sexually abused. Journal of Child & Adolescent Trauma, 3, 163-180.
Waiyakoon, S. (2016). Development of an Instructional Learning Object Design Model for Tablet-Based Using Game Based Learning with Scaffolding to Enhance Mathematic Concepts for Mathematic Learning Disability Students. Doctor of Philosophy Thesis Program in Educational Technology and Communications Faculty of Education Chulalongkorn University. (in Thai)
Witkowska, E. & Menckel, E. (2005). Perceptions of sexual harassment in Swedish high schools: experiences and school-environment problems. European Journal of Public Health, 15(1); pp. 78-85.