ประสิทธิผลการจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
คำสำคัญ:
ประสิทธิผล, การจัดการศึกษา, ความพึงพอใจบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินประสิทธิผลของการจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ในภาพรวม และ จำแนกรายด้าน ได้แก่ ด้านกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ด้านวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และ ด้านมาตรฐานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู? และ 2) ศึกษาระดับประสิทธิผลฯ และ เปรียบเทียบประสิทธิผลฯ ตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ ช่วงอายุ ช่วงประสบการณ์ ระดับการศึกษา และ ตำแหน่งหน้าที่ ประชากร ได้แก่ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู รุ่นเข้าเรียนปี 2564 และ 2565 จำนวน 146 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบประเมินด้วย google form แบบมาตราส่วนประมาณค่า5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการตีค่าเฉลี่ยเป็นระดับประสิทธิผล และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว?
ผลการวิจัย พบว่า ประสิทธิผลการจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ในภาพรวม ทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับมากที่สุด และ 2) ระดับประสิทธิผลฯ อยู่ในระดับมากที่สุดในทุกปัจจัยส่วนบุคคล และ ประสิทธิผลไม่แตกต่างกันตามปัจจัยส่วนบุคคลทั้งในด้านเพศ ช่วงอายุ วงประสบการณ์ทำงาน ระดับการศึกษา และ ตำแหน่งหน้าที่
References
เกวลี ผังดี และ พิมพ์รดา. (2556). ความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรของภาควิชาสถิติ. คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ขนิษฐา แน่นอุดร และ ดิเรก สุขสุนัย. (2566). การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2561). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. (2561) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2561). อัดสำเนา
จารุวรรณ เทวกุล (2555). ความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทพาณิชยกรรม ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 และ ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยอาชีวศึกษาฉะเชิงเทรา. สารนิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์. (2539). การพัฒนาหลักสูตร: หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: อลีนเพลส
ทวีพงษ์ หินคํา. (2541). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริหารงานสขาภิบาลริมใต จังหวัด เชียงใหม่. วิทยานิพนธ?รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการเมืองและการปกครอง, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นิรภัย จันทร์สวัสดิ์. (2551). การบริหารความเสี่ยง RISK MANAGEMENT จากทฤษฎีสู่ปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สูตรไพศาล.
ปรัชญา เวชสาระ. (2545). หลักการจัดการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานปฏิรูปการศึกษา.
พิสณุ ฟองศรี. (2549). การประเมินทางการศึกษา: แนวคิดสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: เทียมฟ้าการพิมพ์
รังสีจันท์ สุวรรณสทิศกร. (2557). การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนรายวิชา LSC 305 การจัดการผู้ขายปัจจัยการผลิตสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
วราภรณ์ แผ่นทอง. (2548). การประเมินหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 ของสถานศึกษาเอกชน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสตรและการสอน อาชีวศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยี่พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร:อาร์ แอนด์ ปริ้นท์.
วิรุฬ พรรณเทวี. (2542). แนวคิดด้านความพึงพอใจ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศักดิ์ศรี ปาณะกุล. (2545). การประเมินหลักสูตร (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2550). ทฤษฎีการประเมิน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศุภกร แก้วละเอียด และ เจนจิรา มีบุญ. (2558). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนของวิทยาลัยรัตภูมิ. รายงานการวิจัย วิทยาลัยรัตภูมิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
สงัด อุทรานันท์. (2532). พื้นฐานและหลักการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพมหานคร: เซนเตอร์พับลิคเคชั่น.
สมวงศ์ พงศ์สถาพร. (2547).การตลาดบริการ. กรุงเทพมหานคร: เลฟแอนด์ลีฟ.
สมัคร ภูมิเขต (2551). ความพึงพอใจของนิสิตระดับปริญญาตรีที่มีต่อการเข้าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรการศึกษาของมหาวิทยาลัยนครินทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ์หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการนันทนาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุนีย์ ไพรี. (2548). การประเมินหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 3 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
สุนีย์ ภู่พันธ์. (2546). แนวคิดพื้นฐานการสร้างและการพัฒนาหลักสูตร. เชียงใหม่: ดวงกมลเชียงใหม่
สุวิมล ติรกานันท์. (2548). การประเมินโครงการ: แนวทางสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรวรรณ ธนูศร. (2561). ความพึงพอใจของนิสิตต่อการจัดการเรียนการสอน สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. รายงานการวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.
อาภาภรณ์ รักความสุข. (2546). การประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพการศึกษาชั้นสูง พุทธศักราช 2540 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ. วิทยานิพนธ์คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอนอาชีวศึกษา: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
Aday , L. N. , & Andersen, R. (1978). Theoretical and Methodological Issues in Sociological Studies of Consumer Satisfaction with Medical Care. Social Science and Medicine. 12: 28.
Best, J. W., and Jemes, V. K. (1986). Research in education 5th ed. New Jersey: Prentice Hall.
Cambridge Dictionary. (2023). Cambridge Dictionary. Retrieved September 15, 2023, from https://dictionary.Cambridge.org/dictionary/english/effectiveness.
Kotler, P. and K. K. Lane. (2006). Marketing Management. 12th ed. New Jersey: Prentice - Hall
Wikipedia.org (2023). Wikipedia Encyclopedia. Retrieved September 15, 2023, from https://en.wikipedia.org./wiki/Ef5fectiveness.