พุทธจิตวิทยาเพื่อการพัฒนาตนเอง
คำสำคัญ:
พุทธจิตวิทยา, การพัฒนาตนเอง, คุณภาพชีวิตที่ดีบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคคลได้ตระหนักรู้ถึงความสำคัญของการพัฒนาตนเองพระพุทธศาสนากับจิตวิทยารวมกลายเป็นพุทธจิตวิทยา (พระธรรมปิฏก, 2539:24-25) เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพชีวิตและสังคมพร้อมปัญหาที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ยุคพัฒนา โดยเฉพาะปัญหาด้านจิตใจ เช่น ความเครียด วิตกกังกล ว้าเหว่ว่างเปล่าและไร้ความหมาย ซึ่งพุทธศาสนาเรียกว่า?ทุกข์? และนี่คือการกระตุ้นให้จิตวิทยาตะวันตกหันมาสนใจความเจ็บป่วยทางจิตในคลีนิกออกมาสู่คนป่วยทางจิตทั่วไปรวมถึงคนป่วยปกติ พระพุทธศาสนาไม่ได้แยกส่วนนับว่า มีระบบจิตวิทยาที่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง ทั้งหมดนี้จะเห็นได้ว่า พุทธจิตวิทยาเพื่อการพัฒนาตนเองมีส่วนสำคัญต่อ การดำรงชีพของบุคคลเป็นอย่างมาก หากเรารู้เท่าทันปัญหามีการพัฒนาตามหลักข้อธรรม พื้นฐาน เช่น ศีล 5 อิทธิบาท 4 มรรค 8 ซึ่งนับว่าเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทั้งด้านความประพฤติ ด้านจิตใจและด้านปัญญาทั้งสิ้น ในการป้องกัน และส่งเสริมให้มนุษย์สามารถดำเนินชีวิตไปอย่างมีคุณภาพ เป็นขบวนการที่ช่วยบรรเทา ให้กิเกสของมนุษย์ ลดน้อยลงไปและทำให้ตนและสังคมมีความสงบสุขที่ได้จากการนำเสนอหลักการตามธรรมชาติของกระบวนการเกิดและดับทุกข์พร้อมทั้งนำเสนอถึงวิธีการปฎิบัติหรือวิธีการดำเนินชีวิตให้บรรลุถึงการดับทุกข์หรือปัญหาในจิตใจที่เกิดขึ้นให้หมดไป หรือเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ทำให้เราสามารถอาศัย อยู่บนโลก นี้ด้วยความสงบสุข มีสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตที่ดี?
References
กาญจนา ไชยพันธุ์. (2547). กระบวนการกลุ่มทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. ขอนแก่น:มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะศึกษาศาสตร์.
เกื้อ วงศ์บุญสิน. (2547). ประชากรศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชูชีพ อ่อนโคกสูง,อนุสรณ์ อรรถศิริ. (2549) ความสัมพันธ์ระหว่างพลังความสามารถแห่งตน. เป้าหมายพิมพ์ลักษณ์, กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช , .
ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ.(2546). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์บทสังเคราะห์ภาพรวมการพัฒนาระบบสวัสดิการสำหรับคนจน และคนด้อยโอกาสในสังคมไทย. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์เอดิสันเพรสโปรดักส์.
เลี่ยงเชียง.
ปราณี รามสูตร และจำรัส ด้วงสุวรรณ. (2545). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ธนะการพิมพ์.จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พนมไพร ไชยยงค์. (2558). เสนอวิธีการพัฒนาตนไปสู่ชีวิตที่งดงามและมีความสุข. ?รุ่งอรุ่ณแห่งการพัฒนาตน? คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
พระครูนิวิฐธุราทร. (2566). พรหมวิหารธรรม. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://www.gotoknow.org/posts/สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน พ.ศ. 2566.
พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตโต). (2531). กรรมตามนัยแห่งพุทธธรรม. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุฟ.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2553). ปัญญาต้องคู่กับกรุณาจึงจะพาชาติรอด. กรุงเทพฯ : เซนปริ้นติ้ง,.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2557). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. กรุงเทพฯ: ผลิธัมม์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต).(2546). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงขยายความ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ มหาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, .
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฏกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2553). อรรถกถาภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมิต อาชวนิจกุล. (2535). การพัฒนาตนเอง ภาค 2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :สำนักพิมพ์ดอกหญ้า.
สุริวัตร จันทร์โสภา (2552). โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
Bloom, B. S.. (1956). Taxonomy of educational objectives. New York: Longman.
Nowack, M. K.. (2001). Executive coaching: How to successfully change behaviour. Retrieved July 28, 2023 from http://www.stressinventory.com/ download/
coachingmanuscript2023.pdf.