ธุรกิจครอบครัวในกระบวนทรรศน์หลังนวยุคสายกลาง

ผู้แต่ง

  • พจนา มาโนช บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

ธุรกิจครอบครัว, กระบวนทรรศน์, กระบวนทรรศน์หลังนวยุคสายกลาง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิเคราะห์เอกสาร โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อวิเคราะห์ธุรกิจครอบครัวในมุมมองกระบวนทรรศน์หลังนวยุคสายกลาง

????????? ผลการวิจัยพบว่า ธุรกิจครอบครัวในมุมมองกระบวนทรรศน์หลังนวยุคสายกลางเป็นธุรกิจครอบครัวที่มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนในครอบครัว ชุมชนหรือสังคม และสิ่งแวดล้อม เป็นธุรกิจที่ไม่เน้นการแข่งขัน แต่เน้นความร่วมมือ มีการแบ่งในการดำเนินธุรกิจร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและสร้างผลลัพธ์ที่ดีกว่า มีการคิดสร้างสรรค์และผลิตนวัตกรรมที่ช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งหรือปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความยืดหยุ่นและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง มีการปรับปรุงกระบวนการหรือกลยุทธ์เพื่อให้ธุรกิจมีประสิทธิภาพต่อการเปลี่ยนแปลงตลาดและอุตสาหกรรม มีการสร้างและรักษาวัฒนธรรมและค่านิยมที่เข้มแข็งในองค์กรอย่างมีวิจารณญาณ มีค่านิยมและแนวทางที่เกื้อกูลต่อการดำเนินธุรกิจที่ยั่งยืน มีคุณธรรมจริยธรรมและหลักธรรมาภิบาล

References

ฉันทวรรณ เอ้งฉ้วน และพิทักษ์ ศิริวงศ์. (2560). การให้ความหมาย ที่มาของความหมาย และกระบวนการสืบทอดธุรกิจครอบครัว กลุ่มร้านจำหน่ายเสื้อผ้าสำเร็จรูป : การวิจัยเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก. Veridian E-Journal. 10 (3) (กันยายน-ธันวาคม) : 299 - 316.

ชัยโรจน์ นพเฉลิมโรจน์. (2565). การคิดนวัตกรรมด้วยหลักการทรงงานตามหลักปรัชญาหลังนวยุค. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน. 5(2) (เมษายน - มิถุนายน) : 111 - 117.

ชิสา กันยาวิริยะ สิรินทร์ กันยาวิริยะ และเมธา หริมเทพาธิป. การบริหารตนตามหลักพุทธธรรมสำหรับ

นักธุรกิจ. วารสารวิจัยธรรมศึกษา. 5 (2) (กรกฎาคม-ธันวาคม 2565) : 275 - 281.

พจนามาโนช กีรติ บุญเจือ และเอนก สุวรรณบัณฑิต. (2563). มรดกเชิงพลวัตรผ่านกระบวนทรรศน์ 5

กับการแก้ไขทุจริต:การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์และวิธาน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร.

(1) (มกราคม-กุมภาพันธ์) : 247 - 256.

________. สิริกร อมฤตวาริน และเอนก สุวรรณบัณฑิต. (2565). จริยธรรมแห่งการดูแลกับผู้ให้บริการสุขภาพในภาวะชีวิตวิถีใหม่. วารสารวิจัยธรรมศึกษา. 5 (2) (กรกฎาคม - ธันวาคม) : 209 - 221.

เมธา หริมเทพาธิป. (2559). การศึกษาตามหลักปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง : วิเคราะห์จากหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร. (4)1 (มกราคม - มิถุนายน) : 120 ? 132.

________. (2561). การมีส่วนร่วมในมุมมองหลังนวยุค. วารสารรมยสาร. 6(3) (กันยายน - ธันวาคม) : 63 - 77.

________. (2563). การจูงใจตนเองในแนวทางหลังนวยุค วารสารพุทธมัคค์. 5(1) (มกราคม - มิถุนายน) : 99 ? 107.

สิรินทร์ กันยาวิริยะ ชิสา กันยาวิริยะ และเมธา หริมเทพธิป. (2565). การบริหารคนตามหลักพุทธธรรมสําหรับนักธุรกิจ. วารสารวิจัยธรรมศึกษา. 5 (2) (กรกฎาคม-ธันวาคม 2565) : 240-249.

________. เมธา หริมเทพาธิป และกีรติ บุญเจือ. (2563). การบริหารธุรกิจตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา. 10 (2) (เมษายน-มิถุนายน) : 171 - 179.

สุดธินีย์ ทองจันทร์ เมธา หริมเทพาธิป และ รวิช ตาแก้ว. (2563). การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยด้วยหลักปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา. 10 (1) (มกราคม - มีนาคม) : 99 ? 107.

Longenecker, J. G. and Schoen, J. E. (1978). Management Succession in the Family Business. Journal of Small Business Management. 16 : 1 ? 6.

เผยแพร่แล้ว

2023-12-30