วัฒนธรรมไทยตามแนวพุทธศาสตร์

ผู้แต่ง

  • พระปัญญา ฐิตญาโณ วัดทองเนียม กรุงเทพมหานคร
  • เขตต์พนธ์ วิชชุรังษี นักวิชาการอิสระ ด้านพุทธศาสนาและปรัชญา
  • พรประทาน ชูโต

คำสำคัญ:

วัฒนธรรมไทย, พุทธศาสตร์, รูปแบบของสถาบัน

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้ สรุปได้ว่า พุทธศาสนามีอิทธิพลและเป็นแม่แบบแห่งวัฒนธรรมที่ดีงามของไทย คนไทยผูกพันกับความเชื่อและแนวปฏิบัติตามหลักคำสอนในพุทธศาสนา ดังนั้น วัฒนธรรมของสังคมไทยกับพุทธศาสนาจึงแยกออกจากกันไม่ได้ เพราะพุทธศาสนาเป็นรากฐานแห่งสังคมไทยอย่างแท้จริง พุทธศาสนาและวัฒนธรรมไทยมีหน้าที่ต่อสังคมดังนี้ กำหนดรูปแบบของสถาบัน กำหนดบทบาท ควบคุมสังคม เป็นสัญลักษณ์ ความเป็นอันเหนึ่งอันเดียวกันในสังคม สร้างรูปแบบความประพฤติและการปฏิบัติร่วมกัน ช่วยตระหนักถึงความหมายและวัตถุประสงค์ของการมีชีวิต ตลอดถึงสร้างและหล่อหลอมบุคลิกภาพของสังคม

References

คูณ โทขันธ์. (2545). พุทธศาสนากับสังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

พระมหามฆวินทร์ ปุริสุตฺตโม. (2562). วีดิทัศน์. นครปฐม: 24 กุมภาพันธ์ 2562.

สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2545). สังคมวัฒนธรรมพุทธ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บ้านจอมยุทธ. (2562). วัฒนธรรมและประเพณีไทย. https://www.baanjomyut.com/library/thai_culture3/index.html. 9 มีนาคม 2562.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2562). เอกสารประกอบการบรรยายรายวิชาวัฒนธรรมไทย. http://www.mcu.ac.th/BO/Files/Doc/Document/dFile160720072007140655.doc. 13 มีนาคม 2562.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-25