จริยธรรมทางเศรษฐกิจของชาวไทยเชื้อสายจีน

ผู้แต่ง

  • อรนิตย์ จิวโพธิ์เจริญ นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

ลักษณะสำคัญ, จริยธรรมทางเศรษฐกิจ, ปัญหาในชีวิตประจำวัน

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาจริยธรรมทางเศรษฐกิจของชาวไทยเชื้อสายจีน ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะสำคัญของจริยธรรมทางเศรษฐกิจของชาวไทยเชื้อสายจีนคือ หลักการดำเนินชีวิตที่มุ่งแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน โดยมุ่งเน้นการแสวงหาโอกาสและการลงทุนอย่างระมัดระวัง วิถีชีวิตของชาวไทยเชื้อสายจีนประกอบด้วยจริยธรรมทางเศรษฐกิจในระดับบุคคล ได้แก่ ความขยันหมั่นเพียร และในระดับสังคมได้แก่ ความสามัคคี

References

โกวิทย์ วงศ์สุรวัฒน์. หัวเฉียว ไห่ไว่หัวเหญิน หัวอี้. มติชนรายวัน. (8 กรกฎาคม 2553): 6.

พรรณี บัวเล็ก. (2549). ระบบกงสีกับกำเนิดและวิถีชีวิตของชนชั้นแรงงานรับจ้างในประเทศไทย: ประวัติศาสตร์แรงงานในช่วยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). พจนานุกรมศัพท์เศรษฐศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตสถาน. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.

ราชบัณฑิตยสถาน.(2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

วิหค อัสนี. (2553). ระบบกงสีกับประชานิยม-คอมมิวนิสม์-รัฐสวัสดิการ-ทุนนิยมโดยรัฐ. (Online). www.oknation.net, 27 พฤศจิกายน 2557.

สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปักกิ่ง. (ม.ป.ป). ความสัมพันธ์ไทย-จีน. (Online). https://thaiembbeij.org/ th/republic-of-china/thai-relations, 20 พฤษภาคม 2565.

สุภางค์ จันทวานิช และคณะ. (2539). ชาวจีนแต้จิ๋วในประเทศไทยและในภูมิลำเนาเดิมที่เฉาซัน (พ.ศ. 2403-2492 หรือ ค.ศ.1860-1949). กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา.

หอการค้าไทย-จีน. (ม.ป.ป). พันธกิจ. (Online). https://www.thaicc.org/visionmission, 22 พฤษภาคม 2565.

อาร์ซีเจ. บาห์ม. (2533). หลักคำสอนของขงจื้อ. กรุงเทพฯ: เดลฟี.

MGR Online. (2550). ?ขงจื่อ? แก้ปัญหาสังคมไทย ยึดหลัก13 ประการสร้างคนดี. (Online) www2. manager.co.th, 27 พฤศจิกายน 2557.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-02-26