วิเคราะห์ปรัชญาสังคมและการเมืองการปกครองในทางพระพุทธศาสนา ของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

ผู้แต่ง

  • พระครูสังฆรักษ์ สุริยะ ปภสฺสโร (สพานทอง) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การเมือง, การปกครอง, ตามแนวพระพุทธศาสนา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาความคิดทางการเมืองตามแนวพระพุทธศาสนาของพระพรหมคุณาภรณ์ 2) เพื่อศึกษาการเมืองการปกครองตามแนวพระพุทธศาสนาของพระพรหมคุณาภรณ์ และ 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ปรัชญาสังคมและการเมืองการปกครองตามแนวพระพุทธศาสนาของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ผลการศึกษาพบว่า การเมืองการปกครอง เป็นการดูแลจัดการให้มนุษย์อยู่กันอย่างเป็นธรรม และเป็นระเบียบ การเมืองการปกครองในทางพระพุทธศาสนา เป็นการปกครองที่ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยโดยใช้ธรรมะ ความร่วมมือร่วมใจได้มาก อันจะเป็นผลช่วยให้บรรลุถึงความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของผู้นำอีกด้วย จึงมีประโยชน์อย่างมากต่อผู้นานัก จึงมีประโยชน์อย่างมากต่อผู้นานักปกครอง เนื่องจากผู้ปกครองก็เหมือนกับคนทั่วๆ ไปและที่สำคัญเมื่อขึ้นไปสู่ตำแหน่งสูงๆ การบริหารวินิจฉัยสั่งการต่าง ๆ ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องเชื่อฟังจะต้องทำตามในเบื้องต้นก่อน เพราะเขาอยู่ในฐานะผู้บังคับบัญชา

References

ชลทิศ ธีระฐิติ. (2551). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2543ก). พุทธศาสนาในความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2538). พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2527). ธรรมนูญชีวิต : พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: สมาคมศิษย์เก่ามหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2538). นิติศาสตร์แนวพุทธ. กรุงเทพฯ: บริษัทสหธรรมิก จำกัด.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2552). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาสมบูรณ์ วุฑฒิกโร (พรรณา). (2549). ประเด็น โต้แย้งว่าด้วยพระพุทธศาสนาเพื่อสังคม. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย2(4), 52-88.

วศิน อินทสระ. (2553). พระไตรปิฎกฉบับที่ทำให้ง่ายแล้ว. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ธรรมดา.

สมบูรณ์ สุขสำราญ. (2534). พระพุทธศาสนากับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและสังคม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-28