STUDENTS` SATISFACTION TOWARD EDUCATION SERVICE OF SRISASANAVITAVA PARIYATIDHAM SCHOOL, MUEANG DISTRICT, UBONRATCHATHANI PROVINCE

Authors

  • Phra Somboon Kwinamso Graduate School Mahamakut Buddhsit University

Keywords:

providing educational service, PhrapariyattidhamSrisasanaVitaya school, satisfaction

Abstract

The purpose of this thesis was as following: 1) to study satisfaction toward providing educational service, 2) to compare satisfaction toward providing educational service as classified by age, education levels, and grade point average, 3) to collect the suggestions, problems and obstacles on satisfaction toward providing educational service of Phrapariyattidham Srisasana Vitaya school, Mueng District, UbonRatchathani Province. The population of this study was 380 students of PhrapariyattidhamSrisasanaVitaya school, Mueng District, UbonRatchathani Province. The sample group used in this study was 191 students of Phrapariyattidham Srisasana Vitayaschool, Mueng District, Ubon Ratchathani Province. The research instruments was questionnaire of five levels for 30 items. The statistics used in data analysis were mean, standard deviation, independent sample t-test and One-WAN ANOVA .
The results of this research were as following: 1) the satisfaction toward providing educational service of Phrapariyattidham Srisasana Vitaya school, Mueng District, Ubon Ratchathani Province was of totally high level. 2) Students with different ages had different satisfaction toward providing educational service at 0.05 level of statistical significance, but students with different education levels and GPA had no statistical significance. 3) the suggestions toward providing educational service to students were as following: the school should improve on the system of educational service provision and set up the clear division of working in office.

References

กนก ใบบัว. (2544). การบริการสังคมของสถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีผู้เรียนเป็นสำคัญระดับประถมศึกษา ม.ท.ป. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน.

ก่อ สวัสดิพานิชย์. (2537). เอกสารการสอนชุดวิชาไทยศึกษา. หน่วยที่ 14. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

กาญจน์ เรืองมนตรี. (2543). เอกสารประกอบการบรรยายในชั้นเรียน. มหาสารคาม : ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.

กิตติมา ปรีดีดิลก. (2520). ปรัชญาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ประเสริฐการพิมพ์.

กิตติมา ปรีดีดิลก. (2529). ทฤษฎีการบริหารองค์การ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ธนะการพิมพ์.

กุหลาบ ปั้นลายนาค. (2548). การปฎิบัติงานในห้องสมุดโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ครั้งที่ 3. สุวีริยา-สาส์น.

คณาจารย์ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะวิชาครุศาสตร์ วิทยาลัยครูสวนสุนันทา. (2532). การศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เจริญผล.

จงจิน สุขสิงห์. (2547). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนเอกชนระดับปฐมวัย จังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยา สถาบันราชภัฏสารคาม.

จรัส โพธิ์จันทร์. (2543). ความพึงพอใจในการทำงานของอาจารย์วิทยาลัยพลศึกษาในภาคเหนือ. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก.

จิตรกร คำผล. (2549). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดเฉพาะกิจปราบปรามยาเสพติดให้โทษของสถานีตำรวจภูธรในสังกัดตำรวจภูธรจังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

เฉลิม ฉวิวงศ์. (2543). การศึกษาความคาดหวังของผู้ปกครองนักเรียนและสภาพการปฎิบัติจริงต่อการวัดต่อระดับก่อนประถมศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานประถมศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.

ชาญชัย ราชโคตร. (2545). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการบริการของสำนักงานทะเบียนอำเภอ กระนวน จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ฐิติภัทร ประสิทธิพร. (2545). ครูดีที่หนึ่งในโลก. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์สุวีริยาสาส์น.

ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2542). พฤติกรรมมนุษย์ในองค์กร. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ถนอม มากะจันทร์. (2546). ทฤษฎีการศึกษาและการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช.

ประสงค์ อุทัย. (2551). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการให้บริการของมหาวิทยาลัยธนบุรี. รายงานการวิจัย, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธนบุรี.

Adams, J. Stacey. (1965). Inequity in social exchange. in Berkowitz, Leonard (Ed), Advances in Experimental Social Psychology, Vol. 2, Academic Press, New York.

Dewey, J. (1976). Moral Principle in Education. Boston : Houghton Mifflin Co.

John Locke. (1996). Some Thoughts Concerning Education andof the Conduct of theUnderstanding. ed. by Ruth W. Grant and Nathan Tarcov Hackett.

Published

2021-06-21